วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554

สถานที่ท่องเที่ยว อ.จอมบึง จ.ราชบุรี



 
จอมบึง  ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่ 5
ภูเขาเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่นคง ภูเขาจอมพลตั้งอยู่ในกลางเทศบาลด้านหน้าเป็นที่ตั้ง ของที่ทำการเทศบาล มีทุ่งจอมบึง อันเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อาหารรสเด็ด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒  อาหารรสเด็ด
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 
รหัสวิชา    ท ๒๑๑๐๑      ชื่อวิชา  ภาษาไทย         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่              เวลา            ชั่วโมง
....................................................................................................................................................................
๑.  ตัวชี้วัด
         ๑.  อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
      ๒.  ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ  โดยพิจารณาจากบริบท
      ๓.  จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน
         ๔.  วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
         ๕.  พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
         ๖.  ซื่อสัตย์สุจริต
         ๗.  มีวินัย
         ๘.  ขยัน
  ๙.  มุ่งมั่นในการทำงาน                       
๒.  เนื้อหาสาระ
            ๑.  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
            ๒.  เนื้อหา
            ๓.  วิเคราะห์คุณค่าเรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
๓.  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ชั่วโมงที่ 
 ๑.  ก่อนสอนครูตรวจการแต่งกายของนักเรียน  ระเบียบของสถานศึกษา  แล้วจึงครูสนทนากับนักเรียนเรื่องกาพย์ว่ามีความหมายอย่างไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
๒.  ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่ากาพย์บทเห่ชมเครื่องคาวหวาน เป็นคำประพันธ์ที่แต่งขึ้นเพื่อพรรณนาเกี่ยวกับอาหารที่บรรจงปรุงอย่าง ถึงเครื่องถึงรส  สะท้อนถึงฝีมือปรุงอาหารอย่างหาที่เปรียบได้ยาก       
    ๓. ครูซักถามนักเรียนถึงเรื่องการอ่านบทเรียนเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  ควรอ่านอย่างไรจึงจะเข้าใจลึกซึ้ง
                ๔.  นักเรียนอาสาสมัคร    อ่านเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   ให้เพื่อนๆ  ฟังหรือครูเปิดเครื่องบันทึกเสียงการอ่านกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  ให้นักเรียนฟัง
                ๕.  ครูนำแผนภูมิความหมายของศัพท์   และถ้อยคำสำนวนจากเรื่อง   กาพย์เห่ชม
เครื่องคาวหวาน  มาติดบนกระดานดำ   ให้นักเรียนศึกษาความหมายของคำศัพท์
                 ๖.  แบ่งนักเรียนออกเป็น   กลุ่ม  ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเรื่องต่อไปนี้
                                กลุ่ม ๑   จับประเด็นสำคัญของเรื่อง
                                กลุ่ม ๒  บอกจุดประสงค์ของเรื่อง
                                กลุ่ม ๓   จัดลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง
                                กลุ่ม ๔   สรุปเนื้อเรื่อง
                ๗.  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารายงานหน้าชั้น   พร้อมส่งเอกสารที่ครู  เพื่อเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน
                ๘.  นักเรียนช่วยกันซักถามเรื่องราวทั้งหมดจากกลุ่มต่าง ๆ   เพื่อเป็นการสรุปบทเรียนและ
นำใบความรู้มาให้นักเรียนอ่าน
                ๙.   มอบหมายให้นักเรียนทำใบงานที่    อย่างตั้งใจ  (ขยัน)  และมุ่งมั่นในการทำงาน
            ๑๐.  ครูมอบหมายให้นักเรียนไปอ่านหนังสือหรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.  สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อเรื่องเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน      เพื่อเป็น
การทบทวนบทเรียนจากเรียนเมื่อครั้งที่แล้ว
                ๒.  แบ่งนักเรียนแบบคละความสามารถเป็น    กลุ่ม  (สมาชิกตามความเหมาะสม)    ให้แต่ละกลุ่มจัดประชุมกลุ่มย่อย   เพื่อหาข้อสรุป   ตามหัวข้อที่กำหนดให้ต่อไปนี้
                กลุ่มที่  ๑ แสดงทรรศนะเกี่ยวกับ      ความเป็นมาของกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
                กลุ่มที่  ๒ แสดงทรรศนะเกี่ยวกับ      ความสำคัญของกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
                กลุ่มที่  ๓ แสดงทรรศนะเกี่ยวกับ      คุณค่าของคำประพันธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
                กลุ่มที่  ๔ แสดงทรรศนะเกี่ยวกับ      ข้อคิดจากบทเรียนกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  
                ๓.  ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน     เสร็จแล้วให้ทุกกลุ่มส่งผล
การประชุมกลุ่มและระดมความคิด   เพื่อเก็บไว้ที่แฟ้มสะสมผลงาน
                ๔.  นักเรียนและครูช่วยกันสรุปสาระสำคัญจากบทเรียน เรื่อง    กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานอีกครั้ง
                ๕.  ครูมอบหมายให้นักเรียนทำใบงานที่   เรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
                ๖.  ครูมอบหมายให้นักเรียนไปอ่านหนังสือหรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.  ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา
                ๒.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ   -   คน  (ตามความเหมาะสม)  แล้วให้แต่ละกลุ่มอ่านบทวิเคราะห์แล้วสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์จากเรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   
๓.  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง     เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้ทุกกลุ่มส่งรายงานที่ครู
                ๔.  ให้นักเรียนทำใบงานที่ ๓  เรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานเสร็จแล้วส่งให้ครูตรวจ
                ๕.  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน 
๖.  มอบหมายให้นักเรียนไปอ่านหนังสือหรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.  ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา
                ๒.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ   -   คน   (ตามความเหมาะสม)    แล้วให้แต่ละกลุ่มอ่านในใจแล้วสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   
๓.  ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง    โดยใช้วิธีจับสลาก   เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว  ให้ทุกกลุ่มส่งรายงานที่ครู
                ๔.  ให้นักเรียนทำใบงานที่  ๔ เรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   เสร็จแล้วส่งให้ครูตรวจ
                ๕.  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน 
๖.   มอบหมายให้นักเรียนไปอ่านหนังสือหรือบทเสภาเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 
                 ๑.  ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา
                ๒.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ ๔ -   คน  (หรือตามความเหมาะสม)  แล้วให้แต่ละกลุ่ม    อ่านในใจแล้วสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   
๓.  ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง    โดยใช้วิธีจับสลาก   เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้ทุกกลุ่มส่งรายงานที่ครู
                ๔.  ให้นักเรียนทำใบงานที่ ๕   เรื่อง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   เสร็จแล้วส่งให้ครูตรวจ
                ๕.  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน 
๖.  มอบหมายให้นักเรียนไปอ่านหนังสือหรือบทเสภาเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.   ครูสนทนากับนักเรียน   เรื่องการพัฒนาความคิดโดยใช้แผนภาพความคิด
                ๒.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม   ให้แต่ละกลุ่ม   กำหนดคำแทนมโนภาพ   และคำที่กำหนดนั้นควรเป็นมโนภาพใกล้เคียงกัน   เมื่อกำหนดคำได้แล้ว   ให้เชื่อมโยงมโนภาพให้สัมพันธ์กัน    
                ๓.   ครูให้นักเรียนทำใบงานที่  -
                ๔.   ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.   ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนชั่วโมงที่ผ่านมา
                ๒.  เปิดเครื่องบันทึกเสียงการอ่านทำนองเสนาะเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานให้นักเรียนฟังพร้อมทั้งสังเกตท่วงทำนองการอ่านแล้วให้นักเรียนทำกิจกรรมการอ่านตามลำดับ  ดังนี้
                       -  อ่านออกเสียงธรรมดาให้ถูกต้องตามอักขรวิธี  พร้อมทั้งแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง
                       -  ให้อ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ  กัน ตามครูทีละบท
                       -  ให้อ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ กัน ทั้งชั้น
                       -   แบ่งกลุ่มให้อ่านทำนองเสนาะต่อกันจนจบเรื่อง
                       -  ให้อ่านทำนองเสนาะเป็นรายบุคคล
๓.  ครูและนักเรียนช่วยวิจารณ์การอ่านของแต่ละคนว่าถูกต้องและมีความไพเราะเพียงใด
๔.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  (จำนวนกลุ่มและสมาชิกกลุ่มตามความเหมาะสม) แล้ว
ให้ทำกิจกรรมดังหาความหมายของคำจากพจนานุกรม 
๕.  ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาเสนอผลการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน พร้อมส่งเอกสารประกอบการรายงาน
๖.  ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามจากเรื่อง
๗.  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน   นักเรียนทำใบงาน
ชั่วโมงที่ 
                ๑.  ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา
                ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ  -   คน   (ตามความเหมาะสม)  แล้วให้แต่ละกลุ่มสรุปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์จากเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน   
๓. ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง    โดยใช้วิธีจับสลาก   เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว    ให้ทุกกลุ่มส่งรายงานที่ครู
                ๔.  ให้นักเรียนทำใบงานที่  ๙-๑๐   เรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานเสร็จแล้วส่งให้ครูตรวจ
                ๕.  ครูมอบหมายให้นักเรียนไปงานอุทยาน ร.๒  เพื่อไปดูการสาธิตทำขนมต่างๆที่กล่าวไว้ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  แล้วทำรายงานส่งครู
๔.  สื่อและแหล่งการเรียนรู้
     ๑.  หนังสือเรียนภาษาไทย  ชุดวรรณคดีวิจักษ์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
     ๒.  เครื่องบันทึกเสียง
     ๓.  แผนภูมิความหมายของคำศัพท์และสำนวนจากเรื่อง
     ๔.  ใบงานที่   ๑๐
     ๕.  ใบความรู้  
      ๖.  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
    ๗.  แบบประเมินการอ่านบทร้อยกรอง 
๕.  การวัด/ประเมินผล
        . ตรวจใบงาน
     ๒.  ตรวจแฟ้มสะสมงาน
        ๓.  การรายงานของนักเรียน
        ๔.  การซักถาม และการตอบคำถาม
        ๕.  การร่วมกิจกรรม
        ๖.  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๗.  แบบประเมินการอ่านบทร้อยกรอง 
๖.  กิจกรรมเสนอแนะ
         นักเรียนควรอ่านหนังสือ  เรื่องราชาธิราชเพิ่มเติมจากเรื่องที่เรียน













ใบความรู้
เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

          บทเห่มีเนื้อความต่างไปเพราะเป็นบทพรรณนาเกี่ยวกับอาหารที่บรรจงปรุงอย่าง ถึงเครื่อง  ถึงรส  สะท้อนถึงฝีมือปรุงอาหารอย่างหาที่เปรียบได้ยาก  เมื่อได้อ่านคำประพันธ์  ๒ บทนี้  ผู้อ่านย่อมเกิดจินตภาพถึงแกงมัสมั่นรสเข้มข้นหอมกลิ่นเครื่องเทศและยำที่มีเครื่องครบครันปรุงรสด้วยน้ำปลาญี่ปุ่นน่าลิ้มลอง   นอกจากแสดงว่าผู้ปรุงมีฝีมือเป็นเลิศในการทำอาหารแล้ว  ผู้แต่งก็มีฝีมือในการพรรณนาให้ได้อรรถรสเป็นอย่างยิ่งเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยซึ่งประกอบด้วยบทเห่ชมเครื่องคาว  บทเห่ชมผลไม้  บทเห่ชมเครื่องหวาน  บทเห่ครวญเข้า
กับงานนักขัตฤกษ์  และบทเห่เจ้าเซ็น
                กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานนี้แต่งตามแบบกาพย์เห่หรือกาพย์เห่เรือ  คือแต่งเป็นโคลงผสมกาพย์  ตอนต้นเป็นโคลงสี่สุภาพ ๑ บท  จากนั้นเป็นกาพย์ยานี  ๑๑  ไม่จำกัดจำนวนขยายความต่อจากโคลงบทนั้น โดยมากเนื้อความในกาพย์ยานีบทแรกจะเลียนความจากโคลงสี่สุภาพตอนต้น  บทประพันธ์ในลักษณะนี้  หากพรรณนาความรู้เกี่ยวกับเรือหรือการเดินทางทางเรือ  เรียกว่า   กาพย์เห่เรือ  แต่ถ้าพรรณนาเรื่องอื่นๆจะเป็นเรื่องใดก็ได้  เช่น  ชมนก  ชมหนังสือหรือชมเครื่องคาวหวาน  ดังที่ได้อ่านอยู่นี้  เรียกว่า  กาพย์เห่
                เมื่อนึกถึงอาหารไทยในวรรณคดี  คนทั้งหลายมักนึกถึงกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยซึ่งกล่าวถึงอาหารนานาชนิดโดยพรรณนาอาหารเหล่านั้นให้มีรูปลักษณ์  สีสัน  รสชาติ  ตลอดจนมีกลิ่นหอมชวนให้ลิ้มลองวรรณคดีเรื่องนี้จึงเป็นที่นิยมนำมากล่าวอ้างอิงในตำราอาหารของไทย  อีกทั้งอาหารไทยโบราณหลายชนิดยังมีผู้นำมารื้อฟื้นปรุงกันใหม่เพราะมีชื่อเป็นที่รู้จักจากวรรณคดีเรื่องนี้ด้วย




ใบงานที่ 
เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

. นักเรียนคิดว่าสิ่งใดคือลักษณะสำคัญที่สุดของบทเรียนเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................
. นักเรียนคิดว่า  บทเรียนเรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  มีกลวิธีการเขียนอย่างไรบ้าง
..................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................
. นักเรียนคิดว่า  บทเรียนเรื่อง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  มีประโยชน์อย่างไร
...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................
. นักเรียนคิดว่า  บทเรียนเรื่อง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  ให้ข้อคิดอย่างไร
...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

 

                               ใบงานที่ 

เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

 ชื่อ………………………………………….……………เลขที่…....ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
.ให้นักเรียนบอกความเป็นมาและความสำคัญของกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานมาให้ถูกต้อง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. นักเรียนคิดว่า คุณค่าของวรรณคดีเรื่องนี้อยู่ที่ใด เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….




 

ใบงานที่ 


ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนถอดใจความสำคัญของคำประพันธ์ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

                  ก.                         มัสมั่นแกงแก้วตา                หอมยี่หร่ารสร้อนแรง
                                ชายใดได้กลืนแกง                               แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา         
                                                ยำใหญ่ใส่สารพัด                วางจานจัดหลายเหลือตรา
                                 รสดีด้วยน้ำปลา                                    ญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ
....………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

                                     ข.                     เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า        รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน
                                                เจ็บไกลใจอาวรณ์                              ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง....………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

             ค.                                       ขนมจีบเจ้าจีบห่อ                        งามสมส่อประพิมพาย                          
                                               นึกน้องนุ่งจีบถวาย                             ชายพกจีบกลีบแนบเนียน              
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
                                         

ใบงานที่ 

เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน


ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

.  ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายประการใดในการเขียนเรื่องนี้ขึ้น
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

.  ผู้แต่งมีวิธีกล่าวถึงอาหารคาวหวานอะไรบ้าง  นักเรียนลองจำแนกออกเป็นพวกหรือประเภทตามความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

 

ใบงานที่ 

เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑



คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
.  นักเรียนคิดว่า  ผู้แต่งเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน     คือใคร
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

.  นักเรียนคิดว่า  เรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน      แต่งในสมัยใด
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

.  นักเรียนคิดว่า  เรื่อง  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน      ได้สะท้อนถึงวัฒนธรรมไทยทางด้านอาหารการกินอย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

 

ใบงานที่ 


ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง  ให้นักเรียนเขียนแผนที่ความคิด (Mind Mapping )  กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

























 

ใบงานที่ 


เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนเขียนคำอ่านพร้อมบอกความหมายจากคำที่กำหนดให้ถูกต้อง


เมืองบน.......................................................................................................................................
ยำใหญ่..........................................................................................................................................
ยี่หร่า..........................................................................................................................................
รังนก..........................................................................................................................................
รางชาง..........................................................................................................................................
ล่าเตียง..........................................................................................................................................
ลูกเอ็น..........................................................................................................................................
แสร้งว่า..........................................................................................................................................
หมูแนม...................................................................................................................................         

 

ใบงานที่ 

เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน


ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามจากการอ่านเรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานให้ถูกต้อง
.  ให้นักเรียนระบุชนิดของอาหารที่พบในเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานในบทเรียน ว่ามีกี่ชนิด อะไรบ้าง  อธิบายวิธีปรุงอาหารที่นักเรียนรู้จักมาอย่างน้อย ๑  ชนิด  พร้อมทั้งหาภาพประกอบด้วย
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
.  ให้นักเรียนจำแนกประเภทของอาหารไทย  และอาหารเทศตามที่ปรากฏในเรื่อง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

๓.  ให้นักเรียนรวบรวมสำนวนไทยที่เกี่ยวกับอาหารพร้อมคำอธิบายให้ถูกต้อง

……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
                                                  

ใบงานที่ 

เรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน


ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง   ให้นักเรียนสรุปเรื่องย่อและเขียนข้อคิดที่ได้จากการอ่านเรื่อง   กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  ให้ถูกต้อง

. เรื่องย่อ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

 

ใบงานที่  ๑๐

ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑




คำชี้แจง  ให้นักเรียนถอดใจความสำคัญของเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน  ให้ถูกต้อง

ขนมจีบเจ้าจีบห่อ                งามสมส่อประพิมพาย
                                นึกน้องนุ่งจีบถวาย                             ชายพกจีบกลีบแนบเนียน
............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................                
............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................                

                                                ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น             วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
                                รสทิพย์หยิบมาโปรย                          ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ
............................................................................................................................................................................... 
...............................................................................................................................................................................                
............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................                


 
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง   ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน  แล้วขีด  P  ลง
                ในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน



คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
๑. ซื่อสัตย์สุจริต
๑.๑  ประพฤติตามระเบียบการสอนและไม่ลอกการบ้าน
๑.๒  ประพฤติ  ปฏิบัติ  ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง
๑.๓  ประพฤติ  ปฏิบัติ  ตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น



๒. มีวินัย
๒.๑  เข้าเรียนตรงเวลา
๒.๒  แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
๒.๓  ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง



๓. ขยัน
๓.๑  แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
๓.๒  มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
๓.๓  สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล



๔. มุ่งมั่นใน
การทำงาน
๔.๑  มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
๔.๒  มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ







 ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
-  พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ  ให้         คะแนน
-  พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง    ให้        คะแนน
-  พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง                       ให้         คะแนน

 
แบบประเมินผลการอ่านออกเสียงร้อยกรอง (กลุ่ม)
          คำชี้แจง    ให้ผู้สังเกตพิจารณาคุณภาพของผู้เรียนแต่ละคน แล้วเขียนเครื่องหมาย P ลง
                                 ในช่องระดับคะแนน




ชื่อ / กลุ่ม
พฤติกรรม / ระดับคะแนน
ความ
พร้อมเพรียง
การสอดแทรก
ลีลาจังหวะ
อักขรวิธี
รวม
๑๖




























































































































































































































































































































































































                   ลงชื่อ .............................................ผู้ประเมิน


 
เกณฑ์การให้ค่าระดับคะแนน แบบประเมินผลการอ่านออกเสียงร้อยกรอง (กลุ่ม)



รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
()
ดี
()
พอใช้
()
ควรปรับปรุง
()
. ความพร้อม-เพรียง
อ่านพร้อม-เพรียงกันทุกคน
อ่านค่อนข้างจะพร้อมเพรียง
อ่านพร้อมบ้างไม่พร้อมบ้าง
ไม่พร้อมเพรียง
. การสอดแทรกอารมณ์
สอดแทรกอารมณ์ใน
การอ่านได้อย่างเหมาะสมชัดเจน ถูกต้องทุกคน
สอดแทรกอารมณ์ใน
การอ่านได้อย่างเหมาะสม
สอดแทรกอารมณ์ในการอ่านเป็นบางครั้ง
ขาดอารมณ์ในการอ่าน
. ลีลาจังหวะ
มีลีลาจังหวะเป็นไปตามฉันทลักษณ์
รู้จักเก็บคำ
รวบรวมคำได้ดี
มีลีลาจังหวะเป็นไปตาม
ฉันทลักษณ์
มีลีลาจังหวะเป็นไปตาม
ฉันทลักษณ์บ้าง
ขาดลีลาจังหวะในการอ่าน
. อักขรวิธี
ตัว คำ
ควบกล้ำถูกต้องชัดเจน
ขาดความชัดเจนของตัว หรือคำควบกล้ำ
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัว คำ
ควบกล้ำชัดเจนบ้าง
ตัว คำ
ควบกล้ำไม่
ชัดเจน

เกณฑ์การตัดสิน

               ๑๕          คะแนนขึ้นไป    ดีมาก
          ๑๐ ๑๔        คะแนน          ดี
                      คะแนน          พอใช้
                      คะแนน          ควรปรับปรุง               
                                         เกณฑ์ผ่านร้อยละ